Archive

Archive for August, 2005

What to Do and Not Do as a Startup

31 August 2005 Leave a comment

Wouldn’t it be great if someone could give you a "to do" list when you were ready to start your company that would guarantee your success? Even better, what about a "to don’t" list of things to avoid at all costs?

Through experience, I’ve found there are no shortcuts to launching a business–you have to do your homework to understand your customers, competitors, market conditions and risks. But there are some principles I’ve found to be very effective for growing both my company and my clients’ businesses whether they are startups or Fortune 500 corporations, whether they sell consumer products, professional services or technology products.

Even though we are all start from different places, these seven lessons have certainly served me well over the years:

1. Stop Selling and Start Sharing.

People are much more interested in what you have to say when you’re sharing your knowledge, your passion and your experience to help them solve their problems. Focus on being interested in them, and don’t worry so much about being interesting. It’s amazing how interesting you are when you’re paying attention to your customers’ needs. People buy from those they like, trust and identify with. Building rapport creates that trust and credibility. Just remember, it’s about the relationship, not the sale. Nobody likes to be sold, but everyone likes to buy.

Do: Listen to what your prospects and customers say with their words and body language.
Don’t: Pull out a brochure or sales sheet unless they ask for it.

2. Differentiate or Die.

What makes you unique vs. the others in the market? Make sure there’s something special about your product or service other than the price. Own something important in your customers’ hearts and minds. Being good is no longer good enough–you have to find something where you’re great. Use your imagination and creativity to set yourself apart from the crowd. I once worked with a business owner who always wears red. She works in a male-dominated field where everyone has basically the same credentials so at least she’s easy to spot at events. "The lady in red" gets most of her work by referral, which is a great way to build a business.

Do: Talk to real customers and ask them for a report card
Don’t: Chase last week’s/quarter’s/year’s trend

3. Solve problems people will pay for.

Revenue is validation. Are customers voting with their wallets? Are your products or services the "nice to have" thing or the "have to have" thing? Be very important to your most important customers–they should think of you first for any needs in your category. Also, make sure you have more than just a "one off" good idea. Although great businesses start with great ideas, not all ideas are company-worthy. Many of the dotcoms forgot that the business model must actually work, that cash flow matters and that it’s not just about building awareness but about making the sale. Janet Jackson got plenty of attention for her wardrobe malfunction in last year’s Super Bowl, but did that sell more of her products?

Do: Test, tweak and try again.
Don’t: Ask your friends or family and call it "research."

4. Leverage the evangelists.

There are people out there using your product or service who would be glad to tell others about your business. If you can make them happy, they’ll help you spread the word to other like-minded customers. And here’s something to keep in mind: They may be using your product or service for purposes other than the ones you initially intended, so make sure you really understand what they like and dislike about your business and, more important, why. And remember, it’s not about pedigree or job title–your champions can come from anywhere. At one of the startups I worked for, a hair stylist made a key introduction for our company. Friend-raising can, in fact, lead to fundraising, so make friends before you need them.

Do: Make it easy for your evangelists to try your product or service.
Don’t: Discount the negatives. There may be an important insight buried within.

5. Be visible.

Wasn’t it Woody Allen who said that 80 percent of success is just showing up? Invisibility is not a good business strategy–if people don’t know you exist, then guess what? You don’t. You don’t have to run a Super Bowl ad to get noticed, but you do have to be active in the communities you cater to so people know where and how to find you. Whether you have a technology business, a consumer products company or a professional services firm, you’re in the relationship business. If there are businesses that target your same customer base, then find creative ways you can each leverage your contacts and databases to multiply your outreach. Best-kept secrets are just that: secrets.

Do: Put your mouth where your money is, too.
Don’t: Hide in your office or behind your computer online.

6. Create extraordinary experiences.

The relationships you have with your customers are based on the cumulative experiences they have with your employees, product, service and business. If your brochure or website makes one claim but the reality is very different, it’s the firsthand knowledge that will be remembered by your customers, so make sure you deliver on the promises you make every time you connect with your customers. Is it such a surprise that most of the airlines are going bankrupt while Jet Blue and Southwest are profitable?

Do: Consistently reinforce your key messages in everything you do.
Don’t: Forget that every employee, partner and affiliate is an ambassador, too.

7. Put passion above all else.

Customers are savvy–they know when something is genuine or if you’re just going through the motions. So do your employees, partners and affiliates. If you don’t enjoy what you are doing, find something else to do! It’s hard to compete with someone who gets up feeling excited every day and who’s full of ideas about their business. To them, what they do doesn’t feel like work. Enthusiasm is contagious, so determine what it is you enjoy doing and then share your gift with others whose talents may lie somewhere else. When everyone plays to their strengths, the results are superior.

Do: Work you love and believe is important.
Don’t: Waste time. It’s your most precious commodity.

By Paige Arnof-Fenn, March 21, 2005

Categories: Business

Should You Partner Up When It Comes to Business?

29 August 2005 Leave a comment

7 questions to ask yourself when considering a partnership

After I came up with the idea for my company, a strategic-marketing consulting firm, one of the first decisions I had to make was whether I wanted–or needed–a business partner. Since this is a crucial question when first launching a business–whether to take on a business partner or go it alone–I’m going to explore both options over the next two columns so you can decide which would be best for your business. This month we’ll discuss the solo entrepreneur approach.

There are many ways to structure an organization. Even as a solo entrepreneur, you don’t have to go it alone if you set up an advisory board or board of directors to hold yourself accountable. But if thinking about asking someone you know to join forces with you and start a business together, before you make that offer, there are several questions you should ask yourself:

1. Is this the type of person I could work with every day who compliments my skill set?

Deciding whether or not to partner up isn’t unlike dating vs. marriage–there’s a big difference between going out for an occasional dinner and waking up next to that person day in and day out. The bar is a lot higher when you’re signing someone up for the long haul. Think about the person you’ve got in mind and ask whether they’ll make the highs even better and the lows more tolerable. Will they bring out your strengths and compensate for your weaknesses? This is not a time to clone yourself. You already know what you know, so where are you weak?

2. What are my core values, and is there someone who shares the things that are most important to me who can help me grow my business?

When I was starting out, I could only imagine having a partner if that person and I were completely in synch on issues like integrity, authenticity, passion and drive. I have a strong work ethic and know I would feel slighted by a partner who didn’t work as hard, even if they were a good person. Be honest and realistic about your expectations–I don’t believe you can ever compromise on things like core values. I’ve never seen it work.

3. Do all partners have to be equal?

This is a tough one. Should there be an odd number of partners so you can break ties? Does it make sense to be classified as a minority or a woman-owned business if you qualify? And how would that change the dynamics? Two equal partners have to have a lot of issues ironed out in advance to be successful. The corollary here is, will everyone feel like an owner if they have some equity stake in the business? In my experience, there are people who think like owners whether they have stock or not. It’s an attitude; it’s not about job title.

4. If I don’t have a partner, who will I turn to for advice or input?

Making an important decision in a vacuum can be dangerous. If you don’t take on a partner, then you’ll need to consider who knows more about certain issues than you do. And what’s in it for them to help you make the right call? Can they be an objective third opinion? Which decisions of yours should be vetted with an outside party as a reality check?

5. Will the business be stronger with more heads at the top?

You’d need to decide how to divide responsibilities. I’ve seen it split by inside person/outside person and also by function. And when it comes to titles, will you be co-CEOs or will one of you be the president and the other the CEO/chairman?

6. Do you want to have to consult someone every time you want to make a major decision?

Bachelor(ette)hood has its privileges. There are days when you really don’t want to consult with anyone else or invest the time it takes to sell others on your ideas. You just know in your gut or through prior experiences that your decision is the right one. And without a partner around, you can solely decide to take on that new client, pursue a new market, or not go to the trade show this year without getting any attitude from a partner.

7. If I try it solo, could I bring in a partner later?

When times are good, everyone wants to be your partner. When things get tough, will they still be around? In the early years when a company is in investment mode, few people offer to write checks to keep the train moving. Do you need outside capital to grow? As your customer base grows and revenues build, you’ll find plenty of people who are interested.

When deciding whether to take on a partner, there are a lot of considerations, none of which should be taken lightly. These are important decisions because the health of your business is at stake.

By Paige Arnof-Fenn : June 20, 2005

Categories: Business

The Wrong Idea To Start Biz

29 August 2005 Leave a comment
ข้อผิดพลาดกับการเริ่มต้น
 
ทุกคนเรียนรู้จากข้อผิดพลาดทั้งนั้นค่ะ แต่จะดีเสียกว่า หากเราสามารถเรียนรู้ข้อผิดพลาดนั้น ๆ จากคนอื่น
John Osher นักธุรกิจผู้สร้างองค์กรต่าง ๆ มาแล้วมากมาย รวมถึง Mr. SpinBrush ซึ่งขายให้กับ P&G ในราคา 475 ล้านเหรียญ เมื่อปี 2001 ก็ทำข้อผิดพลาดมาแล้วนับไม่ถ้วน วันหนึ่ง เขานั่งลง จดข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่เคยเกิดขึ้นกับเขาและเพื่อน ๆ เมื่อแรกเริ่มทำธุรกิจ ลงกระดาษ วันนี้ เราลองมาสำรวจข้อผิดพลาดเหล่านั้นกันดูค่ะ ลองดูนะคะ ว่าคุณก็ทำพลาดอย่างเดียวกันอยู่หรือเปล่า เพื่อจะได้เริ่มแก้ไข ก่อนสายเกินไป
 
ข้อผิดพลาดที่ 1 ไม่ยอมเสียเวลากับการวิจัยข้อมูลตลาดในช่วงเริ่มแรก
 
เมื่อคุณมีไอเดียที่น่าสนใจอยู่ในหัว ผู้ประกอบการหลาย ๆ ท่านมักตื่นเต้นเกินไปกับมัน จนหน้ามืดตามัว ลืมนึกถึงการวิจัยตลาดให้แน่นอนถี่ถ้วนก่อนว่า โอกาสที่เราต้องการทำนั้น มีศักยภาพ มากน้อยเพียงใด นี่เป็นข้อผิดพลาดอันดับแรก และสำคัญมาก ๆ เพราะหากไอเดียของคุณ มีโอกาสที่จะประสบความสำเร็จต่ำแล้วล่ะก็ คุณจะต้องเสียเวลา เสียเงินมากมาย รวมทั้งเสียกำลังใจไปเลย หากมันไม่ประสบความสำเร็จ
 
ข้อผิดพลาดที่ 2 คำนวณขนาดของตลาด ระยะเวลา และศักยภาพของตลาดผิดไป
 
เมื่อคุณมี ไอเดียสุดเริ่ดบางอย่าง มันง่ายที่จะมองภาพรวม และสภาพทางการตลาดให้เป็นไปอย่างที่เราต้องการ แต่เมื่อความเป็นจริง มันไม่หอมหวานขนาดนั้น จำนวนคนที่สนใจในสินค้าของคุณ อาจไม่ได้มากมายอย่างที่คุณคิด คู่แข่งอาจกระโจนเข้ามาเร็ว เกินกว่าจะเตรียมตัวทัน เป็นต้น ดังนั้น การมีข้อมูลในมือ และวิเคราะห์อย่างละเอียด เพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น จึงเป็นสิ่งที่ควรกระทำ นอกจากนี้ ระยะเวลาของการนำสินค้าเข้าตลาดก็มีส่วนสำคัญนะคะ เพราะหาก คุณนำสินค้าเข้าตลาดเร็วเกินไป กว่าที่ลูกค้าจะเข้าใจว่าสินค้านั้นคืออะไร หรือช้าเกินไป ก็จะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันไปค่ะ
ข้อผิดพลาดที่ 3 กะยอดขายมากไปและคิดคำนวณขนาดการลงทุนและค่าใช้จ่ายน้อยไป
 
เมื่อการทำธุรกิจ มีปัจจัยที่ไม่แน่นอนมากมาย ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ ก็คือยอดขายนั้น มักจะมาช้าและน้อยกว่าที่เราคาดคิดไว้เสมอ ส่วนค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุน ก็มักจะมากเกินกว่าที่เราคาดไว้ ดังนั้น ปัญหาจะเกิดขึ้น เมื่องบประมาณที่คุณมีหมดเร็วกว่าที่คาดคิดไว้ และเมื่อผลกำไร ไม่ได้มากมายอย่างที่คาดการณ์ไว้
ข้อผิดพลาดที่ 4 จัดจ้างคน และใช้เงินกับการตกแต่งที่ทำงานและอุปกรณ์สำนักงานมากไป
 
เรามักจะมีภาพของนักธุรกิจหรือองค์กรที่ประสบความสำเร็จอยู่ในหัว ว่าต้องมี office สวย ๆ มีทีมงานมากมาย ซึ่งทำให้หลาย ๆ คนใช้งบประมาณไปกับการจัดสร้างที่ทำงานหรูเริ่ด ซึ่งไม่ก่อให้เกิดรายได้แต่อย่างใด หรือการจัดจ้างคนที่ไม่จำเป็นมา ซึ่งสร้างค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
 
ข้อผิดพลาดที่ 5 ไม่มีแผนการล่วงหน้าหากเกิดข้อผิดพลาด
 
ไม่ว่าใครจะสามารถวางแผนทางธุรกิจไว้ดีมากขนาดไหน แต่ท้ายที่สุดแล้ว สิ่งที่ไม่คาดคิด มักเกิดขึ้นอยู่เสมอ ดังนั้น การมีแผน 2 ไว้รองรับ เช่น การปรับสินค้าเพื่อให้ขายง่ายขึ้น ในราคาที่ถูกลงหากเศรฐกิจไม่ดี จึงควรกระทำ
 
ข้อผิดพลาดที่ 6 มีหุ้นส่วนที่ไม่จำเป็น
 
เห็นกันบ่อย ๆ เลยค่ะ กับหลาย ๆ คนที่เมื่อคิดจะทำธุรกิจ ก็นำ ญาติสนิท มิตรสหายมาร่วมหุ้นด้วย ทั้งๆ ที่บางคนไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์เชิงกลยุทธ์ให้กับองค์กรเลย จริง ๆ แล้ว ก่อนมีหุ้นส่วนสักคน อย่าลืมถามตัวเองก่อนว่าหุ้นส่วน คนนั้น มีประโยชน์ใดบ้างทางธุรกิจ หากเขามี Connection Network ที่น่าสนใจ มีชื่อเสียงที่ดีในวงการ มีเงิน ก็ดีหน่อย แต่หากคิดจะมีหุ้นส่วนไว้ “ขำ ๆ ” ก็อย่าดีกว่าค่ะ
ข้อผิดพลาดที่ 7 จ้างคนอย่างลวก ๆ เน้นสบาย
 
หลายต่อหลายครั้ง เมื่อต้องการทีมงานเพิ่มเติม คุณอาจสอบถามคนใกล้ตัว ว่ามีใครที่รู้จัก หางานอยู่รึไม่ เขาทำบัญชีได้หรือเหล่า เป็นต้น ซึ่งนี่เป็นวิธีง่าย ๆ ที่หลาย ๆ คนทำเมื่อเริ่มธุรกิจใหม่ ๆ แต่หากคุณคิดจะจริงจังกับการทำธุรกิจของคุณ นี่อาจจะไม่ดีพอ เพราะหลาย ๆ ครั้ง พวกเขาเหล่านั้น ไม่เหมาะสมกับงานเท่าที่ควร
 
นอกจากนี้ กลับเป็นการยากเสียอีกต่างหากที่จะไล่พวกเขาออก เพราะนั้นจะส่งผลกระทบถึงผู้ที่แนะนำเขามา ดังนั้น คราวต่อไป เราอาจต้องหาวิธีจัดจ้างคนงานที่มีประสิทธิภาพกว่านี้ เพราะยิ่งองค์กรมีขนาดเล็ก เท่าใด ใครก็ตามที่อยู่ในองค์กรนั้น ๆ ก็ยิ่งต้องเก่งและสามารถทำงานได้หลายอย่างมากขึ้นเป็นเท่าตัว
 
ข้อผิดพลาดที่ 8 เน้นเรื่องยอดขาย และความใหญ่โตขององค์กรมากกว่ากำไร
 
มันง่ายที่จะวัดยอดขาย หรือ show off ความใหญ่โตขององค์กรจากที่ทำงานที่หรูหรา แต่ยอดกำไรจริง ๆ ต่างหากคือสิ่งที่เราต้องการ มีหลายต่อหลายครั้งที่องค์กรที่เราเห็นว่าดูดี น่าเชื่อถือ ต้องล้มละลายเพราะธุรกิจ ไม่ได้สร้างผลกำไรที่แท้จริงออกมา มันจะมีประโยชน์อะไรเล่า หากคุณมียอดขายร้อยล้านแต่ว่ามีค่าใช้จ่ายต่างๆ รวมแล้วมากกว่านั้น ดังนั้น หันกลับมาสนใจ ใส่ใจในเรื่องของกำไรที่แท้จริงขององค์กรดีกว่าค่ะ
 
ข้อผิดพลาดที่ 9 ยอมแพ้เร็วเกินไป
 
เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น อย่ายอมแพ้ หรือมองอะไรแค่ด้านเดียวเท่านั้น เพราะหากผู้ประกอบการจะทำในสิ่งที่ใคร ๆ ก็ทำได้ ก็สร้างได้ แล้วจะมีประโยชน์อันใดเล่า ดังนั้น เมื่อเกิดปัญหาขึ้น อย่ายอมแพ้เร็วเกินไป และอย่าลืม ปลูกฝังค่านิยมนี้ให้กับทีมงานของคุณด้วยนะคะ
 
ข้อผิดพลาดที่ 10 ไม่จัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เสียเวลาในเรื่องที่ไม่สมควร
 
เมื่อคุณเริ่มต้นองค์กรแรก ๆ คุณอาจใช้วิธี "ด้นสด" ไปก่อน เพราะอะไร ๆ ก็ไม่เรียบร้อย จริงอยู่ เมื่อแรกเริ่มทำธุรกิจ ผู้ประกอบการย่อมต้อง พับแขนเสื้อ จัดการลงมือทำเอง แต่หลายต่อหลายครั้ง ที่ผู้ประกอบการเสียเวลากับการทำอะไรบางอย่างที่มีความจำเป็นกับองค์กรโดยรวมน้อยกว่าที่ควรเป็น อย่าลืมนะคะ หน้าที่หลักของเราคือการสร้างองค์กร จัดระบบองค์กร เลือกทำในสิ่งที่ทีมงานยังไม่ได้ ไม่ใช่ทำสิ่งที่สามารถมอบหมายให้คนอื่นทำได้ เสียเวลาค่ะ
 
ข้อผิดพลาดที่ 11 ไม่ยอมหาความจริง
 
มีไม่กี่คนหรอกค่ะ ที่ค้นหาบทเรียนจากข้อผิดพลาด และยิ่งน้อยกว่านั้นอีก ที่จะค้นหาความจริงหรือต้นตอของปัญหา เพื่อป้องกันมันในครั้งต่อ ๆ ไป เข้าใจนะคะ ว่างานเยอะ งานยุ่ง แก้ปัญหานี่เสร็จ ก็ต้องแก้ปัญหาอันต่อไป แต่หากเป็นอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ แล้ว ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คงไม่มีวันจบ ดังนั้น เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น หาความจริงต้นตอปัญหาที่ซุกซ่อนอยู่ แก้ไขระบบ เพื่อไม่ให้ปัญหาเกิดขึ้นอีก
 
นอกจากนี้ การไม่ยอมหาความจริง ยังมาในรูปแบบที่ว่า เมื่อคุณมีไอเดียที่อยากทำ คุณคิดว่าการ "วิจัยตลาด" ของคุณคือการสอบถามกับคนใกล้ตัว ทีมงาน ซึ่งบางที สิ่งที่คุณได้ฟังออกจากปากคนใกล้ตัวคือการ "เน้นย้ำ" ให้มั่นใจเฉย ๆ ว่าสิ่งทึ่คุณกำลังจะทำเป็นสิ่งที่ดี เยี่ยมแล้ว ซึ่งไม่ได้สร้างประโยชน์อันใดให้กับคุณเลย เพราะนั่นไม่ได้บอกความจริงกับคุณว่า สิ่งที่คุณจะทำนั้นมีข้อดี ข้อเสียอย่างไร
 
ข้อผิดพลาดที่ 12 มีวิสัยทัศน์ที่ซับซ้อน ไม่เรียบง่าย
 
สิ่งที่คุณต้องการทำต้องชัดเจน ไม่ซับซ้อน และต้องไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ ตามอารมณ์ของเจ้าของกิจการ เพราะไม่เช่นนั้น ผู้ประกอบการจะอ่อนไหว กับหลาย ๆ โอกาสที่เข้ามาในองค์กร ซึ่งไม่ได้ทำให้องค์กรไปสู่สิ่งที่มุ่งหวังอยู่ได้ กลายเป็นองค์กรหยิบหย่ง ไม่มีจุดเด่นอะไร
 
ข้อผิดพลาดที่ 13 ไม่มีความเป็นเอกลักษณ์
 
นี่เป็นสิ่งที่พบเห็นได้ง่ายในประเทศไทย นั่นคือ องค์กรหลาย ๆ องค์กร ไม่มีความแตกต่างกัน นั่นทำให้ลูกค้าสามารถเลือกองค์กรใดก็ได้ ซึ่งทำให้องค์กรของเราเป็นดั่ง Commodity Product ที่ไม่มีความแตกต่าง ไม่มีจุดขาย
 
การสร้างเอกลักษณ์องค์กรเป็นสิ่งที่ควรเริ่มทำตั้งแต่แรกเริ่มสร้างองค์กรใหม่ ๆ เพื่อสร้างคุณค่าให้กับลูกค้า สินค้าของเรา รวมทั้งให้กับทีมงานของเราด้วยค่ะ
 
ข้อผิดพลาดที่ 14 ไม่ได้เตรียมทางออกให้กับตนเอง
 
องค์กรทุกองค์กรจะดำรงอยู่ แต่ตัวผู้ประกอบการ อาจไม่จำเป็นต้องอยู่ตรงนั้นตลอดไป ดังนั้น การหาทางออกให้กับตนเองตั้งแต่เมื่อเริ่มก่อตั้งองค์กร จะทำให้คุณสามารถ วางแผนกลยุทธ์ให้เป็นไปตามแนวทางที่คุณต้องการได้ เช่นหากคุณต้องการขายองค์กรของคุณต่อไป คุณจะต้องจัดการเรื่องของลิขสิทธิ์ เรื่องการสร้างเอกลักษณ์องค์กร และจุดขายให้เข้มแข็ง หากกำหนดเวลาที่คุณต้องการขายธุรกิจคือ 2 ปีเพื่อไปเรียนต่อ คุณก็ต้องไม่ผูกมัดตัวเองกับ สัญญาระยะยาวต่าง ๆ เช่นสัญญาเช่าที่ หรือหากคุณคิดว่า คุณอยากให้ทายาทมารับช่วงต่อธุรกิจต่อไป การเริ่มปูทางตั้งแต่แรกก็ย่อมเป็นสิ่งที่ควรทำ
 
นี่เป็นตัวอย่างที่เห็นบ่อย ๆ ในเรื่องของข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นเมื่อเริ่มต้นทำธุรกิจนะคะ
 
โดยย่อแล้ว กฏเหล็กที่ต้องจัดการเมื่อเริ่มทำธุรกิจคือ
 
1. ชัดเจนว่าองค์กรของคุณต้องการอะไร ไปทางไหน ถามตัวเองว่าต้องการอะไรจากการทำธุรกิจ
 
2. จ้างคนที่ดีที่สุดมาทำงาน ทีมงานที่ดีช่วยแก้ไข เสริมสร้าง องค์กรที่ประสบความสำเร็จได้
 
3. มีกลยุทธ์พร้อมแนวทางแก้ไข เพราะหนทางไปสู่เป้าหมาย ไม่รวยด้วยกลีบกุหลาบและเต็มไปด้วยสิ่งที่ไม่คาดคิด ดังนั้น การมีกลยุทธ์พร้อมหนทางแก้ไขหากสิ่งที่คาดคิดไม่เป็นไปตามแผนจึงจำเป็นยิ่ง
 
4. ซื่อตรงกับตัวเอง ข้อดี ข้อเสีย ของตนเองคืออะไร มองให้เห็นก่อนเกิดปัญหา
 
5. มุ่งมั่นตั้งใจ หากคิดจะทำ "เล่น ๆ ขำ ๆ " เอาสะใจ คงยากหากจะทำให้มันเป็นธุรกิจที่ใหญ่โต
Categories: Business

Present Value of Annuities And Annuity Due

26 August 2005 Leave a comment

Present Value of Annuities

An annuity is a series of equal payments or receipts that occur at evenly spaced intervals. Leases and rental payments are examples.  The payments or receipts occur at the end of each period for an ordinary annuity   while they occur at the beginning of each period.for an annuity due.

Present Value of an Ordinary Annuity

The Present Value of an Ordinary Annuity (PVoa) is the value of a stream of expected or promised future payments that have been discounted to a single equivalent value today.  It is extremely useful for comparing two separate cash flows that differ in some way. 

PV-oa can also be thought of as the amount you must invest today at a specific interest rate so that when you withdraw an equal amount each period, the original principal and all accumulated interest will be completely exhausted at the end of the annuity.

The Present Value of an Ordinary Annuity could be solved by calculating the present value of each payment in the series using the present value formula and then summing the results. A more direct formula is:

PVoa = PMT [(1 – (1 / (1 + i)n)) / i]

Where:
    PVoa = Present Value of an Ordinary Annuity
    PMT = Amount of each payment
    i = Discount Rate Per Period
    n = Number of Periods

Example: What amount must you invest today at 6% compounded annually so that you can withdraw $5,000 at the end of each year for the next 5 years?

PMT = 5,000  i = .06  n = 5

PVoa = 5,000 [(1 – (1/(1 + .06)5)) / .06] = 5,000 (4.212364) = 21,061.82

Year                   1               2             3             4             5
Begin       21,061.82  17,325.53  13,365.06  9,166.96  4,716.98
Interest     1,263.71    1,039.53      801.90     550.02     283.02
Withdraw      -5,000       -5,000       -5,000      -5,000     -5,000
End         17,325.53  13,365.06    9,166.96  4,716.98         .00

Present Value of an Annuity Due (PVad)

The Present Value of an Annuity Due is identical to an ordinary annuity except that  each payment occurs at the beginning of a period rather than at the end. Since each payment occurs one period earlier, we can calculate the present value of an ordinary annuity and then multiply the result by (1 + i).

PVad = PVoa (1+i)

Where:
    PV-ad = Present Value of an Annuity Due
    PV-oa = Present Value of an Ordinary Annuity
    i = Discount Rate Per Period

Example: What amount must you invest today a 6% interest rate compounded annually so that you can withdraw $5,000 at the beginning of each year for the next 5 years?

PMT = 5,000  i = .06  n = 5

PVoa = 21,061.82 (1.06) = 22,325.53

Year                      1              2              3            4             5
Begin         22,325.53  18,365.06  14,166.96  9,716.98  5,000.00
Interest        1,039.53      801.90      550.02     283.02            0
Withdraw     -5,000.00  -5,000.00  -5,000.00  -5,000.00 -5,000.00
End            18,365.06  14,166.96   9,716.98   5,000.00         .00

Categories: Economics & Finance

Future Value of Annuities And Annuity Due

25 August 2005 Leave a comment

Future Value of Annuities

An annuity is a series of equal payments or receipts that occur at evenly spaced intervals. Leases and rental payments are examples.  The payments or receipts occur at the end of each period for an ordinary annuity    while they occur at the beginning of each period.for an annuity due.

Future Value of an Ordinary Annuity (FVoa)

The Future Value of an Ordinary Annuity (FVoa) is the value that a stream of expected or promised future payments will grow to after a given number of periods at a specific compounded interest.

The Future Value of an Ordinary Annuity could be solved by calculating the future value of each individual payment in the series using the future value formula and then summing the results. A more direct formula is:

FVoa = PMT [(((1 + i)^n) – 1) / i]

Where:
    FVoa = Future Value of an Ordinary Annuity
    PMT = Amount of each payment
    i = Interest Rate Per Period
    n = Number of Periods

Example: What amount will accumulate  if we deposit $5,000 at the end of each year for the next 5 years?  Assume an interest of 6% compounded annually.

PV = 5,000 i = .06 n = 5

FVoa = 5,000 [ (1.3382255776 – 1) /.06 ] = 5,000 (5.637092) = 28,185.46

Year                 1              2              3              4              5
Begin                0    5,000.00  10,300.00  15,918.00  21,873.08
Interest             0      300.00      618.00       955.08    1,312.38
Deposit   5,000.00    5,000.00   5,000.00    5,000.00    5,000.00
End        5,000.00  10,300.00  15,918.00  21,873.08  28,185.46

Future Value of an Annuity Due (FVad)

The Future Value of an Annuity Due is identical to an ordinary annuity except that each payment occurs at the beginning of a period rather than at the end. Since each payment occurs one period earlier, we can calculate the present value of an ordinary annuity and then multiply the result by (1 + i).

FVad = FVoa (1+i)

Where:
    FVad = Future Value of an Annuity Due
    FVoa = Future Value of an Ordinary Annuity
    i = Interest Rate Per Period

Example: What amount will accumulate  if we deposit $5,000 at the beginning of each year for the next 5 years?  Assume an interest of 6% compounded annually.

PV = 5,000 i = .06 n = 5

FVoa = 28,185.46 (1.06) = 29,876.59

Year                 1              2              3              4              5
Begin                0    5,300.00  10,918.00  16,873.08  23,185.46
Deposit   5,000.00    5,000.00   5,000.00    5,000.00    5,000.00
Interest     300.00       618.00      955.08    1,312.38    1,691.13
End        5,300.00   10,918.00 16,873.08  23,185.46  29,876.59

Categories: Economics & Finance

Warrant Option Futures Forwards Swaps

22 August 2005 Leave a comment

Warrant

A warrant is the right — but not the obligation — to buy or sell a certain quantity of an underlying instrument at an agreed-upon price. The right to buy the underlying instrument is referred to as a call warrant; the right to sell it is known as a put warrant. In this way a warrant is very similar to an option. The difference is primarily that the length of time available to exercise a warrant is much longer than most option contracts. Most warrants have 5-10 years before they must be exercised or expire worthless. In addition, when a warrant is exercised, a new share of stock is created, whereas when an option is exercised, the owner of the option receives an existing share that is delivered by a counterparty (except in the case of employee stock options, where new shares are created and issued by the company upon exercise).

There are two types of warrants: "traditional" warrants and so-called naked warrants.

Traditional warrants are issued in conjunction with a bond (known as a warrant-linked bond), and represent the right to acquire shares in the entity issuing the bond. In other words, the writer of a traditional warrant is also the issuer of the underlying instrument. Warrants are issued in this way as a ‘sweetener’ to make the bond issue more attractive, and to reduce the interest rate that must be offered in order to sell the bond issue.

Naked warrants are issued without an accompanying bond, and like traditional warrants, are traded on the stock exchange. They are typically issued by banks and securities houses. The writer of a naked warrant need not be the issuer of the underlying instrument. A naked warrant is essentially an option with a very long time to expiry. Therefore an employee stock option is also equivalent to a warrant.

Option

An option is a contract whereby the contract buyer has a right to exercise a feature of the contract (the option) on or before a future date (the exercise date). The ‘writer’ (seller) has the obligation to honour the specified feature of the contract. Since the option gives the buyer a right and the seller an obligation, the buyer has received something of value. The amount the buyer pays the seller for the option is called the option premium.

Most often the term "options" refers to a derivative security, an option which gives the holder of the option the right to purchase or sell a security within a predefined time span in the future, for a predetermined amount. (Specific features of options on securities differ by the type of the underlying instrument involved.) However real options are another common type. A real option may be something as simple as the opportunity to buy or sell a house at a given price at some period in the future. The writer has the obligation to sell the house to the option buyer for the price agreed in the option while the option buyer does not have to purchase the house at all, so again the buyer has received something of value. Real options are an increasingly influential tool in corporate finance.

Other instruments to manage risk or to assume it include:

Futures

A futures contract is a form of forward contract, a contract to buy or sell an asset of any kind at a pre-agreed future point in time, that has been standardised for a wide range of uses. It is traded on a futures exchange. Futures may also differ from forwards in terms of margin and delivery requirements.

The standardisation usually involves specifying:

    * The amount and units of the underlying asset to be traded. This can be a fixed number of: barrels of oil; lengths of random lumber; units of weight (bushels of wheat, troy ounces of bullion); units of foreign currency; interest rate points; Equity index points; National bonds
    * The unit of currency in which the asset is quoted. Because U.S. futures exchanges have dominated the market, this is very often the US dollar (USD), even when the corresponding OTC market quotes differently (for example the Interbank market quotes in yen per USD, whereas currency futures are quoted in USD per yen).
    * The grade of the deliverable. In the case of physical commodities, this specifies not only the quality of the underlying goods but also the manner and location of delivery. For example, the NYMEX Light Sweet Crude Oil contract specifies the acceptable sulfur content and API specific gravity, as well as the location where delivery must be made.
    * The delivery month.
    * The last trading date.
    * Other details such as tick size, the minimum permissible price fluctuation.

Because they vary in price as a direct function of these variables only, a futures contract is an example of a parametric contract, and is easily combined or traded as part of more complex financial derivatives deals.

Forwards

A forward contract is an agreement between two parties to buy or sell an asset (which can be of any kind) at a pre-agreed future point in time. Therefore, the trade date and delivery date are separated. Beside other instruments, such as Options or Futures, it is used to control and hedge risk, for example currency exposure risk (e.g. forward contracts on USD or EUR) or commodity prices (e.g. forward contracts on oil). The forward price will usually give a good market estimation of the price in the future.

One party agrees to buy, the other to sell, for a forward price agreed in advance. In a forward transaction, no actual cash changes hands. If the transaction is collaterised, exchange of margin will take place according to an pre-agreed rule or schedule. Otherwise no asset of any kind actually changes hands, until the maturity of the contract.

The forward price of such a contract is commonly contrasted with the spot price, which is the price at which the asset changes hands (on the spot date, usually next business day). The difference between the spot and the forward price is the forward premium or forward discount.

Swaps

A swap is a financial instrument–a kind of derivative security.

A swap is essentially an agreement in which counterparties (generally two) agree to exchange future cash flows arising from financial instruments. For example, in the case of a vanilla fixed-to-floating interest rate swap counterparty A agrees to pay counterparty B periodic fixed interest payments on some "notional" principal amount (say $100mm) in exchange for variable rate payments on that notional. The floating "leg" is typically periodically reset based on some reference rate such as LIBOR.

Categories: Economics & Finance

Chic Chat (Part II)

20 August 2005 Leave a comment

Tom Yum Goong

boom boom : ไง mininova ไม่เจอกันนาน ได้ข่าวไปดู ต้มยำกุ้ง
mininova : ป่าว ไปดูคนไปดูต้มยำกุ้งน่ะ ว่าประเภทไหน
lolita : แล้วได้เข้าในโรงไหม
mininova : อ่ะ แน่นอน ไม่ให้เสียเที่ยว
boom boom : มันไม่ใช่ไปดูต้มยำกุ้งตรงไหนเนี่ย
chocodog : เอานา … ตกลงเป็นไงหล่ะ พี่จาหล่อไหม
mininova : หล่อมั่กๆ กระชากใจสาว
boom boom : เป็นเกย์รึป่าว mini
lolita : ถ้าหล่อแล้วสาวแถวสยาม เปลี่ยนแนวยัง
chocodog : ใช่ๆ เมื่อไหร่จะเลิกแนว ยุง บิน ชุม, คิม ลุง ลัง แนวๆเนี่ย
mininova : หนุ่มตี๋เกาหลีเค้ามาแรง ต้องหลีกก่อน
boom boom : แต่ไหนว่าพี่จาดังไปไกล ขนาดเมืองไทยจะขายลำไย ยังต้องเอาไปเป็นพรีเซนเตอร์เลย
chocodog : พี่จากะทักษิณใครหล่อกว่ากัน
mininova : อันนี้บอกยากน่ะ ภาษาบอลเค้าเรียก เฉือนหวิวน่ะ ประเภท พี่จาเฉือนหวิว 2-1 ทักษิณปีกหัก ไรแบบเนี่ย
lolita : พอเหอะ เริ่มไปไกล … ตกลงเห็นบอกฉลอง 200 ล้าน
boom boom : เออๆ ผมก็เห็น ข่าววันนี้เองนี่ แค่ในประเทศนะ
chocodog : ถ้ารัฐบาลสร้างเรื่องนี่ ได้กำไรมา ก้อสร้างตึกรัฐสภาใหม่ใต้ดินได้พอดี
mininova : โห ไม่ถึงม้าง บอกงบ 780 ล้าน แค่ต้มยำกุ้ง จะไหวไหม เสี่ยเจียงยังยิ้มๆบอกขอแค่ พันล้านเอง แบ่งรายได้กะโรงเหลือแค่ 500 ล้าน
lolita : แกถล่มตัวไปงั้นแหละ นี่หนังเรื่องใหม่ก้อเตรียมไว้แล้ว ไหนจะโปรเจคกะทางฮ่องกงอะไรนั่นอีก
chocodog : ชักจะดังใหญ่ … คราวนี้ boom boom คงยิ้มอ่ะดิ หน้าตาออกแนวพี่จา เริ่มจะรุ่งหล่ะ
boom boom : พอเลยๆ เด็กหยามเค้าไม่อาววววว อยู่ดีอ่ะ เค้าชอบ วอน บิน
lolita : งั้นไปชายแดนภาคใต้ไหม 3 จังหวัดนั่นน่ะ boom boom อาจจะแนวเด็กแถวนั้น
boom boom : ไม่ไหวเหมือนกัน ให้พี่จาแกไปดิ ไปฝึกประชาชนให้ป้องกันตัวเอง
mininova : ผมว่าให้พี่จากแกไปสอนทหารดีกว่า คราวนี้ ใครก้อคงกลัวอ่ะ ถ้าสู้ได้แบบแก
lolita : แต่เจอลูกปืนหรือลูกระเบิด จะกี่พี่จา ก้อต้องถอยหล่ะครับงานนี้
chocodog : ให้ทำมันทุกอย่าง ไม่ให้เป็นนายกไปเลยหล่ะครับ
boom boom : อ้าวววว ไม่แน่นะ พูดเป็นเล่นไป อาร์โนยังเป็นผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์นิเคชั่นได้เลย
lolita : ไม่ต้องมามุก นั่นมันเพลงของ red hot, ที่นี่เมืองไทยต้องไทยรักไทยครับ แล้วคิดว่าพี่จาจะได้เป็นไหม หัวหน้าพรรคเนี่ย
chocodog : ไม่ได้หรอก กระผมว่าต้องท่านโอ๊คแน่ๆเลย
mininova : ชักไปไกลอีกหล่ะ คุยเรื่องต้มยำกุ้งดีๆ
lolita : งั้นเอางี้ คิดว่าทักษิณไปดูยัง ต้มยำกุ้งเนี่ย
boom boom : ไปดูนี่ผิด concept เลยว่ะ ออกแนวใช้กำลัง มันจะแก้ปัญหาภาคใต้ไม่ได้
mininova : เค้าดูเพื่อความบันเทิงม้างงงง คิดมาก
chocodog : เหมือน mini ป่าว ไปดูคนไปดู เพื่อความบันเทิง
boom boom : ผมว่าเด็กหยามอาจไม่ค่อยไป เลยจะไม่ค่อยบันเทิงอ่ะ
lolita : ถ้าออกแนวช่างอุตไป คงบันเทิงไปอีกแบบไง อาจมีเบื้องหลังการถ่ายทำไรแบบนี้ด้วยนะ ดูสดๆเลย
chocodog : ผมว่าให้ทักษิณไปดู crash น่าจะดีนะ ต้มยำกุ้งมันแค่งั้นๆอ่ะ
boom boom : จะดูให้มันได้ไร กะแค่รถชน เรื่องนี้เด็กหยามคงไม่ดูเหมือนกัน
lolita : ตกลงเด็กหยามดูไรบ้างว่ะเนี่ย อะไร อะไรก้อไม่ดู จะดูแต่วอนบินหรือ f4 หรือไง
chocodog : เฮ้ย ไม่น่ะ ผมว่าทักษิณต้องดูให้ได้ แบบภาษาที่เรียกว่า must see น่ะ จำเป็นสุดๆ
mininova : อันนี้เห็นด้วยนะ แบบใน crash มันความแตกต่างไม่เข้าใจกัน ระหว่างเชื้อชาติที่หลากหลายใน ลอสแองเจลิส ในไทยความแตกต่างน้อยกว่าด้วยซ้ำ ดัน… อยู่กันไม่ได้
boom boom : ซะงั้นเลยนะ จะวิชาการไปป่าว พวกรัฐบาลเค้าไม่สนใจหรอก จะต่างมากต่างน้อย เห็นนายกให้สัมพลาดบอกว่า ต้องพูดไทยให้มากๆ
chocodog : แต่ผมฟังทักษิณพูดทีไร ไทยคำอังกฤษคำทุกทีอ่ะ ทีงี้ไม่นับเหรอ
lolita : อย่าไปว่าแกมาก เดี๋ยวก้อโดนสวนว่าแผ่นเสียงตกร่องหรอก
chocodog : กลัวไร ผมคนยุคดิจิตอลครับ ใช้แต่แผ่น cd ต่อไปจะเป็น dvd audio ด้วยซ้ำ แผ่นเสียงไม่สน
boom boom : เค้าเปรียบเปรย ไอ้นี่ก้อซื่อจิง หมาน้อยเอ๋ย
mininova : ทักษิณแหละตกลง… ไอ้เราสงสัยอะไร มันยังไม่หาย ก้อหาว่าถามบ่อย ตกร่องไปแล้ว เวงเอ๋ย นี่ถ้าถามอีก ก้อว่าไม่รักชาติ ใครตกร่องกันแน่
lolita : เฮ้ยๆ กลับมา ใจเย็นๆ ไปดูต้มยำกุ้ง ไม่เจอเด็กแนวน่ารักๆ ก้อไม่น่าจะหลุดขนาดนี้
chocodog : แต่ผมว่าถูกต้องแล้วนะ คือคนเราคิดต่างกันได้นี่หว่า แบบว่าจุดมุ่งหมายเหมือนกัน วิธีไม่เหมือนอ่ะ
mininova : ใช่ๆ เหมือนทีมบอลแหละ อยากชนะเหมือนกัน แต่ทีมนึง เน้นบุก อีกทีมรอเคาเตอร์ จะบอกว่าใครผิดใครถูกคงไม่ได้อ่ะ
chocodog : มันจะวนกลับมาที่เดิมไง คือแล้วแต่มุมมอง
lolita : แต่คือถ้ามุมมองมึง มันมักผิดไง ทำไมไม่รู้ตัว
chocodog : อีกแหละ ไอ้นี่ แค่ยอมรับความแตกต่างยากตรงไหน
boom boom : ยากตรง เค้าไม่ชอบ 3 คำเนี่ย "กรือเซะ ตากใบ ทนายสมชาย"
lolita : งั้นง่ายมาก ไม่พูดถึง ไม่ถามถึง 3 เรื่องนี้ดิ จะได้ดีขึ้น
boom boom : เวง ….. เนี่ยแหละยากสุด ก้อถ้าคนยังติดใจสงสัย ไอ้ 3 เรื่องนี้ เอาไรมาทำให้เชื่อใจ มันก้อยากว่ะ เป็นมึงๆทั้งหลายจะรู้สึกไงหล่ะ
chocodog : มันขึ้นกับมุมมองน่ะ แต่โดยส่วนตัว รู้สึกว่า มันต้องทำให้กระจ่างๆ หน่อยอ่ะ
mininova : ช่ายยยยย ต้องแสดงความจิงใจ ต้องเปิดใจอ่ะ
lolita : แล้วน้องตั๊กในต้มยำกุ้ง เปิดใจบ้างไหม mini
mininova : นิดหน่อย นิดหน่อยน่ะ แต่ถ้าอยากเปิดเยอะๆ เอาน้องแนทเหอะ
boom boom : ก้อดีแหละ แต่เปิดจนชิน ถ้าปิดจะดูน่าค้นหาน่ะ อยากดูแบบปิดๆบ้าง
lolita : เออ คือแบบว่า ไม่เคยเห็นน้องเค้าปิดหรือไง ตอนขึ้นโรงขึ้นศาลตามหน้าหนังสือพิมพ์ก้อหัดอ่านบ้าง ไม่ใช่ดูแต่ email forward
chocodog : อยากดูปิดๆ ดูเจ๊เบียบรัตน์ดิ จะได้อยากค้นหาตอนเปิด
boom boom : จิตเกินหล่ะ ปล่อยเจ๊แกไปเหอะ
lolita : เจ๊เบียบกะน้องแนทใครแรงกว่ากัน
mininova : คู่นี้เชือนหวิวใช้ไม่ได้น่ะเนี่ย แรงพอๆกัน ต้องแบบ กินกันไม่ลง เสมอกันไป 3-3 ไรแบบเนี่ย
boom boom : หนับหนุน หนับหนุน อันนี้ถูกต้อง
lolita : ตกลงว่าถ้าอยู่ที่ความจิงใจ ใครควรมีให้ใครก่อนหล่ะ
chocodog : ถ้าเริ่มด้วยคำถามนี้ ก้อแย่ดิ ต่างฝ่ายต่างให้อีกฝ่ายยอม มันก้อไม่จบหรอก
mininova : ใช่ ใช่ ถูกต้องที่สุด มันต้องค่อยเป็นค่อยไป จะบอกแบบ ฉันจิงใจแล้วนะ คุณจิงใจดิ แบบนี้คงไม่ไหวอ่ะ
lolita : แต่อย่างว่านะ เรื่องนี้มีศักดิ์ศรีค้ำคอ
mininova : โห จะศักดิ์ศรีไร คนบริสุทธิ์ตายเป็นเบือ
boom boom : เรียกว่าประชาชนหรือคนในพื้นที่ดีกว่า ใช้คำว่าคนบริสุทธิ์มันฟังทะแม่งๆ
chocodog : คิดไปไหนว่ะเนี่ย วันๆคิดได้กี่เรื่อง เดี๋ยวก้อน้องแนท นี่ก้ออะไรก้อไม่รู้
mininova : ช่ายยยยย อย่าหมกมุ่นกับอะไรที่มันตู้มตู้มมากนัก เดี๋ยวสมองไม่พัฒนา
boom boom : ผิดตรงไหนเนี่ย คิดดู เจมส์ บอนด์ ยังต้องมีสาวบอนด์เลย พี่จาก้อต้องมีสาวจาด้วยดิ
lolita : แล้วต้องตู้มตู้มทั้งนั้นด้วยปะ boom boom
boom boom : แน่นอน เปลี่ยนไปเรื่อยๆก้อได้ วนๆกันอ่ะ จะเป็น ทาทา น้องแนท บัลลูนหรืออั้มก้อได้
mininova : อืมๆ งั้นชื่อเรื่องคงต้องออกแนว ผัดไท ส้มตำ แกงเขียวหวาน ปลาร้า ไรพวกนี้ด้วยปะ
chocodog : คือชีวิตจะไม่คิดอะไรเกินนี้กันแล้วใช่ไหม
boom boom : ไม่แน่นะ คิดมากไปทำไม ท่านนายกคิดให้หมดแหละ วางแผนหมดแล้ว ……

Copyright 2005 By NOZ

Type Of Working People

18 August 2005 Leave a comment

มีความสุขกับสัตว์ทั้ง 4 ในที่ทำงาน

หมี จอม detail

คุณเคยมีหัวหน้าทีม ที่กำกับการทำงานของคุณในรายละเอียดไหมครับ ? หรือเคยมีเพื่อนร่วมงานที่เก็บตัว และทำทุกอย่างให้ถูกตามระเบียบทุกประการบ้างไหม ? เพื่อนคนหนึ่งของผม

เล่าว่า หัวหน้าของเขาตรวจรายงาน ทุกชิ้นอย่างถี่ถ้วนมาก แทบทุกครั้งที่ส่งเอกสาร รายงานถึงหัวหน้า จะต้องมีโน้ตคำถาม หรือพบจุดผิดพลาดในงานชิ้นนั้นเสมอ หนำซ้ำยังมีเพื่อนร่วม

งานที่ยึดกฎระเบียบมาก จนไม่ยอมยืดหยุ่นให้แม้แต่เรื่องเล็กๆ น้อยๆ

คนเหล่านี้ต้องการข้อมูลครับ และหากเราไม่ใช่คนที่มีอุปนิสัยคล้ายกันนี้ เราก็จะอึดอัดและรู้สึกว่าไม่มีความคล่องตัวหรือประนีประนอมกันบ้างเลย ขณะเดียวกันเราเองก็ไม่สามารถเลือก

เพื่อนร่วมงานหรือหัวหน้าได้ตามใจชอบ หรือเรียกร้องให้เขาเปลี่ยนแปลงความคิดวิธีทำงานให้เป็นไปตามใจเราได้ คำถามก็คือ จะทำงานกับคนประเภทนี้ให้มีความสุขได้อย่างไร ? เราจะ

อภิเชษฐ์ (ชื่นชมหรือ appreciate) คนเหล่านี้ได้อย่างไร ? และในทางกลับกัน เราเป็นคนประเภทไหน ? ทำอย่างไรจะทำงานร่วมกันอย่างมีความสุขได้ ?

ทุกท่านคงคุ้นเคยกับการจัดคนออกเป็นประเภทต่างๆ ตามราศีเกิด และยังมีอีกหลายแนวคิดที่อธิบายความต่างของคนแต่ละประเภทเอาไว้ ปกติแล้วผมเป็นคนไม่ค่อยเชื่อการแบ่ง

ประเภทคน หรือจัดลงกล่องต่างๆ ตามตัวแบบที่ถูกลดทอนรายละเอียด แล้วคิดสรุปเอาเองว่า "คนอย่างเนี้ย มันก็เป็นอย่างเนี้ยะแหละ" เช่น บอกว่าคนเกิดวันอังคารมีนิสัยใจร้อน คนเกิด

วันเสาร์เป็นคนขยัน

แต่แนวคิดหนึ่ง ซึ่งผมเห็นว่าน่าสนใจ คือ ชุดการแบ่งคนสี่แบบตามทิศทั้งสี่นี้ เพราะนอกจากจะกระตุ้นนำเราไปสู่การคิด ค้นหา ตรวจสอบ และยอมรับตนเองอย่างจริงใจได้แล้ว ยังทำให้

เราได้คิด ค้นหา ตรวจสอบ และยอมรับผู้อื่นอย่างจริงใจด้วยเช่นกัน

การแบ่งคนตามสัตว์ 4 ทิศนี้เป็นความรู้จากอินเดียนแดงชนพื้นเมืองอเมริกันครับ กล่าวไว้ว่า คนเรามีคุณลักษณะตามกลุ่มหลัก 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีสัญลักษณ์แทนตัวด้วยสัตว์สี่ชนิด โดย

มีฐานคำอธิบายจากทิศหรือธาตุทั้งสี่ ซึ่งมีลักษณะนิสัยและรูปแบบของตนต่างกันออกไป ได้แก่

1. หมี (บางตำรา บางเผ่าก็ว่างู) อยู่ในทิศตะวันตก เป็นธาตุดิน

2. กระทิง อยู่ในทิศเหนือ เป็นธาตุไฟ

3. หนู อยู่ในทิศใต้ เป็นธาตุน้ำ

4. อินทรี อยู่ในทิศตะวันออก เป็นธาตุลม

การรู้จักลักษณะของคนแต่ละกลุ่มตามสัตว์ทั้ง 4 ทิศนี้มีประโยชน์อย่างยิ่งครับ สำหรับวันนี้ขอเริ่มแนะนำกลุ่ม หมี ซึ่งก็มีคุณลักษณะอย่างกลุ่มคนตามได้เกริ่นไว้ในตอนต้น เขาเหล่านี้เป็น

พวกธาตุดินครับ เพราะฉะนั้นจึงมีลักษณะเชื่องช้า รักความมั่นคง เก็บตัว สันโดษ เจ้าระเบียบ เขาและเธอชอบลงรายละเอียด ชอบเสพข้อมูล ถึงขนาดบางทีหลงใหลได้ปลื้ม ตื่นอกตื่นใจ

ไปกับมัน

นอกจากนั้นแล้ว หมียังเป็นพวกชอบการใช้หลักเหตุผล วิเคราะห์ที่มาที่ไป เห็นความถูกต้องและความยุติธรรมเป็นสิ่งสำคัญ เมื่อเปรียบกับกลุ่มอื่นแล้ว หมีจะเป็นคนตรงไปตรงมา บางที

มากจนเป็นการพูดแบบขวานผ่าซาก ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งคือ หมีสามารถทำงานที่เป็น routine ได้อย่างมีความสุข ไม่มองว่ามันเป็นงานซ้ำซากจำเจ เพราะชอบความเป็นระเบียบ

และทำงานอยู่กับข้อมูลเป็นหลัก

หากหมีได้รับมอบหมายให้ไปซื้อของสักอย่าง หมีจะค่อยๆ เปรียบเทียบสินค้านั้นจากผู้ขายแต่ละราย หรือห้างร้านแต่ละแห่งอย่างถี่ถ้วน เช็คแล้วเช็คอีกกว่าจะตัดสินใจได้ ทั้งยังไม่ได้คำนึง

ถึงแต่ราคาเพียงอย่างเดียว แต่หมีจะพิจารณาด้วยว่าสินค้าจากแหล่งไหนมีคุณสมบัติและบริการสมเหตุสมผลคุ้มค่ากับราคามากที่สุด หมีจึงจะตัดสินใจ

การรีบเร่งทำงานให้ลุล่วงจบไปโดยไม่สนใจรายละเอียดวิธีการจึงไม่ใช่ลักษณะของหมีเลยครับ เช่นเดียวกับอุปนิสัยการทำงานหลายอย่างที่คุณจะไม่พบในหมี ไม่ว่าจะเป็นการออกไอเดีย

ใช้ความคิดสร้างโครงการใหม่ๆ การให้ความสำคัญหรือแคร์ต่อความอารมณ์ความรู้สึกของเพื่อนร่วมงาน หมีจึงดูเหมือนไม่ค่อยถนอมน้ำใจผู้อื่น และถือเอาหลักการและวิธีการเป็นที่ตั้ง

ความสำเร็จในสายตาของเหล่าหมีหนุ่ม หมีสาว จึงหมายถึงการมีระบบที่ชัดเจน เป็นระเบียบ โดยทั่วไปแล้ว คุณจึงจะพบเพื่อนร่วมงานที่เป็นหมีได้ง่ายในฝ่ายบัญชีและการเงิน แต่ก็มิใช่ว่า

เจ้าหน้าที่บัญชีทุกคนจะต้องมีลักษณะเป็นหมีเสมอไปครับ

กลับไปที่คำถามตอนต้น ทำอย่างไรเราจึงจะทำงานร่วมกันอย่างมีความสุขได้ ? เมื่อรู้จักหมีแล้ว อยากให้คุณลองคิดในทางกลับกัน ถ้าคุณเป็นหมีเสียเอง คุณจะรู้สึกอย่างไรที่เห็นคนทำ

งานข้ามขั้นตอน เร่งทำงานให้เสร็จโดยไม่ทำเอกสารให้ครบถ้วน ? ทุกคนจะมีความสุขมากขึ้นไหม ? ถ้าเราเข้าใจและยอมรับในความแตกต่างของเพื่อนร่วมงาน

………………………

กระทิง นักaction

ยังจำหมี จอม detail ในตอนที่แล้วได้ใช่ไหมครับ ถ้าท่านเคยไปทำโอดี (organization development) ขององค์กร และวิทยากรนำกิจกรรรมเกมบางอย่าง คุณจะเห็นว่าเหล่าหมีเพื่อนร่วม

งาน เขาใช้เวลาครุ่นคิดเก็บข้อมูลอย่างถี่ถ้วนก่อนตัดสินใจเลือกทำอะไรก่อนหลัง ขณะที่เพื่อนร่วมงานบางคนในกลุ่มเริ่มลุยลงมือไปตามเกมของวิทยากรเรียบร้อยแล้ว ครั้นเมื่อถึงช่วง

ทานพักอาหาร ระหว่างที่คุณกำลังเดินดูโต๊ะบุฟเฟ่ต์ให้ทั่ว ลังเลว่าจะตักอะไรมาทานดี บางคนก็มองหาที่นั่งที่ติดกันกับเพื่อนที่คุ้นเคย แต่เพื่อนร่วมงานจอมลุยคนนี้ของคุณได้ตรงดิ่งไป

หยิบจานรอคิวตักอาหารเสียแล้ว

หรือในการทำงานร่วมกับหัวหน้าหมี คุณมักจะถูกสอบถามติดตามรายละเอียดทุกขั้นตอน แต่คุณเคยพบหัวหน้างานอีกประเภทไหมครับ? ประเภทที่ว่า ถ้าเขาได้รับเป้าหรือโจทย์จากที่

ประชุมกรรมการแล้ว เขาแทบจะออกมาสั่งลูกทีมทันที มิหนำซ้ำยังคาดหวังให้ลูกทีมลงมือทำเดี๋ยวนั้นเลย เรียกได้ว่า ไม่ต้องมาเสียเวลาพิจารณาว่าควรทำหรือไม่ การวางแผนไม่จำเป็น

ต้องใช้เวลามาก ถ้าหัวหน้าบอกต้องออกแอ็คชั่นเลยทันที

………………………….

จากครั้งก่อนเราพูดถึงหมี จอม detail ผู้อยู่ทิศตะวันตก และมีธาตุดินไปแล้ว หัวหน้าหรือเพื่อนร่วมงานของคุณในครั้งนี้ผู้มีลักษณะข้างต้น ถ้าแนวคิดสัตว์ 4 ทิศ อันเป็นความรู้จากชนพื้น

เมืองอเมริกันมาจัดแบ่งกลุ่ม เขาก็คือ กระทิง จอม action ผู้อยู่ทิศเหนือ และมีธาตุไฟนั่นเองครับ (ส่วนอีก 2 กลุ่มที่เหลือ ได้แก่ หนู ในทิศใต้ ธาตุน้ำ และอินทรี ในทิศตะวันออก ธาตุลม

ซึ่งจะเล่าสู่กันในตอนต่อไปครับ)

ในบรรดาบุคคลแวดล้อมในชีวิตการงานของคุณ กระทิงจะเป็นผู้ออกแอ็คชั่นเป็นหลักครับ ต้องแอ็คชั่น แอ็คชั่น และแอ็คชั่นครับ ทีนี้ถ้าหากเราเองไม่ใช่กระทิงล่ะ ถ้าเราเจอพวก action-

oriented แบบนี้ในที่ทำงานแล้ว เราจะทำอย่างไรให้มีความสุขและสนุกครับ? เราจะทนอึดอัดกับการรู้สึกว่า เขาผลีผลามทำอะไรโดยไม่ยั้งคิด หรือเราจะหงุดหงิดรำคาญใจที่เขาทำงาน

ไปก่อน โดยไม่ฟังเสียงเพื่อนร่วมทีม คำถามคือ เราจะสร้างพื้นที่แอ็คชั่นสำหรับคนเหล่านี้ ยอมรับในสิ่งที่เขาเป็นอย่างจริงใจ และชื่นชมเขาอย่างจริงจังได้อย่างไร?

เราต้องเข้าใจธรรมชาติของพวกกระทิงครับ ความสำเร็จในทัศนะของเขา คือ การได้ลงมือกระทำ แม้ว่าทำเสร็จแล้วอาจไม่มีระบบ หรือสมาชิกในทีมจะรู้สึก ‘อิน’ ไม่เท่ากันก็ไม่เป็นไร

หรือแค่มีแผนการทำงานนั้นไม่พอ ต้องได้ทำ ได้ลงมือ เราจึงมักพบพวกกระทิงในกลุ่มนักกีฬา นักแสดง นักกู้ภัย ทหาร ตำรวจ พวกแอ็คชั่นทั้งหลายน่ะครับ

สิ่งที่คุณจะไม่ค่อยพบในพวกกระทิง คือ การนั่งคิด ใช้เวลาวางแผนครับ กระทิงจะคิดว่า ‘เสียเวลา’ สุดๆ มักจะพูดว่า "โอ๊ย … จะหมดเวลา/เสียโอกาส อยู่แล้ว" ยังจะต้องมาคิดว่าใครในทีม

รู้สึกอย่างไรกับเรื่องนั้น และพวกกระทิงก็จะไม่ซีเรียสกับหลักการเท่าใดนัก โดยเฉพาะถ้าหลักการนั้นมันขัดขวางทำให้เขาได้ลงมือทำช้าลงไปอีก

พวก ‘หมี’ ที่เน้นความเป็นระบบและข้อมูล ควรเข้าใจพวก ‘กระทิง’ ว่า เขามีสไตล์การทำงานที่เน้นความเสี่ยงและท้าทาย ในทัศนะเขา ถ้ามัวแต่มาทำระบบจะทำให้พลาดโอกาสเสียก่อน

หรือสำหรับบางคนที่เห็นความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างคนในทีม ก็ไม่ควรรู้สึกแย่ที่ดูเหมือนว่ากระทิงไม่แคร์เพื่อนๆ เลย ทั้งที่โดยแท้แล้วกระทิงแคร์นะครับ เพียงแต่ในโลกของเขา

เขาเชื่อว่าการช่วยเหลือเพื่อน ก็คือ การรีบลงมือทำให้เสร็จนั่นเอง

ถ้าคุณเป็นกระทิงหนุ่ม กระทิงสาว ทั้งที่ ‘เปลี่ยว’ และ ‘ไม่เปลี่ยว’ (ฮา) คุณควรจะเข้าใจแรงผลักดันพื้นฐานของคุณและทีม การที่บางคนในทีมใช้เวลาวางระบบ กว่าจะเซ็นเช็คแต่ละฉบับ

ต้องคิดแล้วคิดอีก ดูรายละเอียดต่างๆ ให้เรียบร้อย ก็ทำเพื่อทีม การที่บางคนมีความคิด จินตนาการเยอะแยะ แม้หลายอย่างคิดเพ้อเจ้อไปบ้าง ทำจริงไม่ได้บ้าง ก็ทำเพื่อทีม หรือแม้

กระทั่งบางคนที่ใช้เวลาไต่ถามทุกข์สุขและดูแลสุขภาพคนอื่นๆ ก็ทำเพื่อทีมเช่นกัน การมีองค์ประกอบเหล่านี้อย่างผสมผสาน ทำให้ทำงานกันเป็นทีมไปได้นาน ไม่ใช่ว่าทุกคนต้องลุยไป

ข้างหน้าพร้อมกับกระทิงอย่างคุณเสมอไป

หากเป้าหมายในชีวิตการงานของพวกเราไม่ใช่เรื่องเงิน (แต่เพียงอย่างเดียว) เป้าหมายเรายังเป็นเรื่องความสุขด้วยแล้ว เราจึงควรใช้ชีวิตการทำงานอย่างพร้อมจะเรียนรู้กันและกัน พร้อมจะ

เติบโตร่วมกับคนในทีมที่มีความหลากหลายเหล่านี้อย่างเข้าใจกันนั่นเองครับ

…………………………………….

หนู ผู้ compromise

ครั้งก่อนเราได้มุ่งไปตะวันตกและขึ้นเหนือ เพื่อทำความรู้จักกับเพื่อนร่วมงานทั้งสองแบบของเราคือ หมี จอม detail และกระทิง จอม action มาแล้ว ครั้งนี้เราจะล่องใต้กันครับ ไปรู้จัก

เพื่อนร่วมงานอีกแบบคือ หนูผู้compromise อยู่ในทิศใต้ มีธาตุน้ำ เป็นสัตว์ในที่ทำงานประเภทที่ 3 ตามแนวคิดสัตว์ 4 ทิศของชนพื้นเมืองอเมริกัน ไม่แน่คุณอาจพบว่า คุณนั่นเอง คือหนูผู้

compromise ก็เป็นได้

ลองนึกถึงในที่ทำงาน ขณะที่ทุกคนกำลังขะมักเขม้นทำงานหน้าดำคร่ำเครียด เมื่อถึงช่วงพักกลางวัน หนูจะเป็นคนแรกที่ชวนเพื่อนออกไปทานข้าว เข้าไปทักเพื่อนที่ทำงาน ลืมเวลาว่าพัก

เสียหน่อยนะ ไปหาอะไรอร่อยๆ ทานกันดีกว่า เมื่อไปถึงร้านอาหาร แน่นอนครับ หมีจะเลือกแล้วเลือกอีกว่าเมนูจานไหนดี ร้านนี้กินอะไรถึงเหมาะ

ส่วนกระทิงนะหรือครับ ออเดอร์อาหารได้เป็นรายแรกหรือไม่ ก็สั่งสมทบตามหลังเพื่อนที่สั่ง ข้าวกะเพราไข่ดาวว่า “กะเพราด้วย รวมเป็น 2” แต่ในเวลาเดียวกัน หนูอีกนั่นแหละที่จะคอย

สังเกตว่าเพื่อนคนไหนสั่งอะไรได้อาหารครบหรือไม่ ใครต้องการน้ำหรือพวงเครื่องปรุงบ้าง

ถ้าคุณรู้สึกว่า หมีและกระทิงต่างมุ่งมั่นกับชิ้นงานและผลลัพธ์เกินไป จอม detail อย่างหมีนั้นช่างเคร่งครัดกับระเบียบวิธีการ และให้ความสำคัญกับความถูกต้องของข้อมูลมากกว่าความ

เชื่อใจในทีมงาน ส่วนรายกระทิงนั้นเล่า ก็ลุยจัดการกับงานตรงหน้า จนไม่ดูว่าจะทำให้เพื่อนร่วมงานหรือลูกทีมน้อยใจหรือเปล่า ถ้ารู้สึกอย่างนี้ คุณอาจเป็นหนู เป็นคนที่ให้ความสำคัญกับ

ความสัมพันธ์ระหว่างกันมากเป็นพิเศษครับ

หนูๆ ในที่ทำงานคือ กลุ่มคนผู้สนใจตัวคนทำงานและวิธีการทำงานมากกว่าใครเพื่อนครับ ในกรณีที่หนูเป็นหัวหน้าทีมทำงานภายใต้ระเบียบขั้นตอนจุกจิกปลีกย่อยมาก หัวหน้าหนูก็มีแนว

โน้มสูงจะยืดหยุ่นละเว้นกฎบางข้อ เพื่อให้ลูกทีมทำงานได้คล่องและลื่นไหลมากขึ้น หมีๆ ฝ่ายบัญชีหรือการเงินอาจจะระอาที่หัวหน้าหนูเซ็นอนุมัติเบิกจ่ายให้ลูกทีมทั้งที่เอกสารใบเสร็จรับ

เงินนั้นไม่เรียบร้อยสมบูรณ์ เพราะหัวหน้าหนูเห็นใจลูกทีมถ้าตีกลับเอกสารไปให้แก้ไข หรือถึงขั้นเกรงใจว่าลูกทีมอุตส่าห์สำรองเงินจ่ายไปก่อน จะไม่เซ็นผ่านให้ได้อย่างไร

ส่วนหนูๆ เพื่อนร่วมงาน (ที่ไม่ใช่น้องๆ สาวๆ นะครับ) ของคุณนั้น เขาหรือเธอแทบจะไม่เคยปฏิเสธคำขอให้ช่วยจากเพื่อนเลย ไม่ว่าจะในทีมเดียวกัน หรือจากฝ่ายอื่นก็ตาม คุณจะไม่เห็น

หนูบอกปฏิเสธไม่ยอมช่วยด้วยเหตุผลว่า “งานฉันยังไม่เสร็จเลย” หรือ “งานใครก็งานมันสิ” เลย เต็มที่ก็แค่แบ่งรับแบ่งสู้ อย่างน้อยก็ช่วยให้คำแนะนำอยู่ดี

ถ้าคุณไม่ใช่หนู แต่คุณเป็นหมีหนุ่ม กระทิงสาว คุณอาจรู้สึกว่า น้องหนูนี่ช่างน่ารำคาญเสียจริง ไม่ทุ่มเท ไม่ระมัดระวัง แถมยังมีนิสัยขี้น้อยใจ ช่างเกรงใจ และเอาใจใส่เพื่อนๆ มากกว่าตัว

เนื้องานเสียอีก ถ้าคุณมีเพื่อนร่วมงานที่แตกต่างจากคุณอย่างนี้ ทำอย่างไรให้ทำงานร่วมกันอย่างมีความสุขล่ะครับ ?

พื้นฐานสำคัญของแนวคิดสัตว์ 4 ทิศ คือ การพยายามทำความเข้าใจกันและกันครับ ไม่ใช่การจัดแบ่งคนในที่ทำงานออกเป็น 4 ก๊กเพื่อแข่งกีฬาสี การที่ได้รู้ว่าเพื่อนหรือหัวหน้ามีการ

ตัดสินใจ ใช้สไตล์การทำงานแบบนี้ ล้วนมีที่มาจากฐานความคิดต่างกัน อย่างกรณีของหนู พฤติกรรมช่างเกรงใจและการพยายามรักษาความสัมพันธ์ของเขาเป็นคุณลักษณะบนฐานใจ ทำ

ให้หนูสนใจการอยู่ร่วมกันมากกว่าเรื่องอื่นๆ

แต่ทั้งนี้ ไม่ได้หมายความว่าหนูๆ ไม่ใส่ใจกับความสำเร็จหรือความเรียบร้อยของงานนะครับ เพราะทัศนะของหนู ความสำเร็จคือความสัมพันธ์ที่ดีในทีม ฉะนั้นหนูจะไม่ชื่นชมกับยอดขาย

ทะลุเป้า แต่แลกมาด้วยความทุ่มเททำงานล่วงเวลาของทุกคน จนไม่มีเวลาแม้แต่จะมาคุยกัน

หนูสนใจเพื่อนที่ดูเครียดจากงาน สังเกตว่าคนในทีมห่างเหินหมางเมินเพราะวุ่นกับงานที่ต้องแย่งกันทำยอด ในบรรดาคนในทีมงาน หนูจึงเป็นคนแรกที่สังเกตเห็นความผิดปกติในกลุ่มหรือ

ในโครงสร้าง เราสามารถกล่าวได้ว่า หนูเป็นคนสำคัญที่ยึดโยงทุกคนไว้ในกลุ่ม ขณะที่หมีคอยจัดการรายละเอียด และกระทิงทำหน้าที่เป็นหัวรถจักร

แต่ทว่าความแตกต่างของคนเหล่านี้ จะไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย ถ้าเราเอาแต่พร่ำบ่นว่า นิสัยของคนอื่นเป็นภาระ หรือตำหนิคนที่มีวิธีทำงานต่างจากเราว่าเป็นอุปสรรคทำให้งานช้า ถ้า

เช่นนั้นแล้ว การแบ่งสัตว์ 4 ทิศก็จะเป็นเพียงการขีดเส้นความเป็นพวกเขาพวกเราให้ชัดเจนขึ้น ไม่เกิดความพยายามทำความเข้าใจกัน

สัตว์ 4 ทิศบอกว่าความแตกต่างระหว่างกัน ไม่ได้เป็นอุปสรรคสำหรับการทำงานเลยครับ แต่เป็นคำตอบต่อคำถามว่าเราจะทำงานร่วมกันอย่างมีความสุขได้อย่างไร เพราะความหลากหลาย

แต่หนุนเสริมกันและกันในหมู่เพื่อนร่วมงานนี่แหละคือสิ่งสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ และทุกคนมีความสุขจากการทำงานร่วมกัน

ถึงตรงนี้แล้ว ถ้าคุณยังไม่พบว่าตัวเองเป็นสัตว์ในทิศไหน อย่าลืมครับว่ายังมีครั้งต่อไป เราจะพบกับ อินทรี เจ้า project ผู้อยู่ในทิศตะวันออก และมีธาตุลม แล้วจะได้รู้กันว่าความแตกต่าง

ของอินทรีมีคุณูปการอย่างไรต่อเพื่อนหมี กระทิง หนู และเพื่อนๆ ทั้ง 3 จะช่วยหนุนเสริมเอาศักยภาพความสามารถของอินทรีมาช่วยให้ทีมทำงานสำเร็จลุล่วงอย่างมีความสุขได้อย่างไรบ้าง

…………………………..

อินทรีเจ้า project

ผมได้พาคุณไปรู้จักกับหมี จอม detail กระทิง นัก action และหนู ผู้ compromise ไปแล้ว หากคุณยังไม่พบว่าหัวหน้า เพื่อนร่วมทีม หรือแม้แต่ตัวของคุณเอง มีลักษณะสไตล์เข้าข่ายทั้ง 3

ดังว่านี้เลย ลองมาทำความรู้จักกับเพื่อนอีกคนในครั้งนี้กันครับ

ย้อนกลับไปสักเล็กน้อย เมื่อ 3 ครั้งที่ผ่านมา เราได้รู้จักเพื่อนที่มีสไตล์พื้นฐานความคิดแตกต่างกัน 3 แบบ เทียบเคียงกับแนวคิดสัตว์ 4 ทิศของชนพื้นเมืองอเมริกัน ได้แก่ หมี บุคคลที่

ชอบลงรายละเอียด สนใจข้อมูล และการทำงานเป็นขั้นตอน กระทิง ขาลุยผู้มุ่งมั่นและชิงลงมือทำงานโดยไม่ให้เสียเวลา และให้ความสำคัญกับการได้ลงมือทำงาน หนู ผู้ให้ความสนใจกับ

เพื่อนร่วมงาน ความสัมพันธ์ระหว่างคนในทีม ความร่วมมือและปรองดองของคณะทำงาน

สำหรับเพื่อนคนที่ 4 ของเรา เขาคือ อินทรี ผู้มาจากทิศตะวันออก และมีธาตุลมครับ อินทรี โดยธรรมชาติแล้วจะบินสูงและเห็นภาพกว้าง เพื่อนร่วมงานชาวอินทรีของเรา ก็มีลักษณะเช่นนั้น

กล่าวคือ เขาจะเป็นคนที่สนใจงานในภาพรวม เห็นกระบวนการทำงานทั้งหมด มองการณ์ไกล เฉียบคม มีญาณทัศนะ (intuition) และมีความสนใจในสิ่งใหม่ๆ และแตกต่างออกไปเสมอ

อินทรี จึงเป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ และนำเสนอไอเดีย เปิดหน้างานใหม่ๆ ขึ้นมาอยู่เสมอ สมฉายาว่า อินทรี เจ้า project นั่นแหละครับ แถมเวลาใครมาชวนทำอะไร ก็มักจะปฏิเสธ

ไม่ค่อยเป็น คือเห็นมันสนุกไปหมด ชอบเป็นขาแจมกับเขาไปทั่ว

ถ้าตัวคุณเองเป็นอินทรี คุณย่อมไม่อดทนต่อการทำงานแบบเดิมๆ ซ้ำกันทุกวัน คุณคอยคิดถึงงานอื่นที่แปลกแตกต่างออกไปเสมอ หรือมิเช่นนั้น คุณก็ชอบทดลองทำงานเดิมด้วยวิธีการ

ใหม่ อินทรีอย่างคุณจะอึดอัดมาก ถ้ารู้สึกว่าถูกบังคับ ไม่มีทางเลือก หรือถ้าไม่รู้ว่างานที่ทำอยู่ไปสัมพันธ์เกี่ยวข้องอย่างไรกับงานในกระบวนการทั้งหมด

ด้วยความที่สนใจในภาพรวมนี้เอง ทำให้อินทรีมองข้ามการทำงานในรายละเอียดไป เมื่ออินทรีนึกถึงงานชิ้นหนึ่ง เขาจะมองภาพงานที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายต่างๆ และผลของงานจะนำไปสู่อะไร

แต่อินทรีจะไม่รู้ว่าบางขั้นตอนของงานนั้น อาจขัดกับระเบียบหรือวิธีการทำงานขององค์กร กรณีอย่างนี้จึงขัดกับความเชื่อและอุปนิสัยของหมีที่ทำงานตามขั้นตอนและระเบียบอย่างเคร่ง

ครัด

รวมไปถึงการบินสูงของอินทรี ยังอาจละเลยไม่ทันเห็นว่าเพื่อนร่วมงาน หรือลูกทีมบางคนกำลังมีปัญหา หรือบอบช้ำจากการทำงาน ในขณะที่หนูสังเกตเห็นและเข้าไปดูแลเพื่อนคนนั้นแล้ว

ความสำเร็จในทัศนะของอินทรีคือ การได้คิดวิเคราะห์ เชื่อมโยง หรือออกแบบสร้างงานใหม่ แต่อินทรีไม่ใช่นักปฏิบัติที่ชอบลงมือทำอะไรด้วยตัวเอง ซ้ำๆ นานๆ แต่มีแนวโน้มจะคิดแล้ว

นำความคิดไปให้คนอื่นทำ ฉะนั้น เราจึงพบอินทรีได้ง่ายในหมู่อาชีพที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์และการวางแผน เช่น ครีเอทีฟ ผู้บริหารโครงการ และนักวิจัยและพัฒนาครับ

ความแตกต่างของ หมี กระทิง หนู และอินทรี ทั้ง 4 นี้ ล้วนหนุนเสริมพลังความสนใจและพรสวรรค์เฉพาะของแต่ละคนได้อย่างกลมกลืนและสร้างสรรค์ครับ แทนที่ต่างฝ่ายจะยกเอาความ

สนใจที่ต่างกันมาติติง กลับสามารถเสริมจุดด้อยที่แต่ละคนมีได้ เช่น อินทรีช่วยให้ทีมเห็นลู่ทางใหม่ คาดการณ์ทำนายผลลัพธ์การทำงาน ส่วนหมีช่วยจัดการในรายละเอียดให้ถูกต้องเป็น

ระเบียบ กระทิงช่วยขับเคลื่อนงานไปข้างหน้า ส่วนหนูก็ดูแลและยึดโยงทุกคนในกลุ่มเข้าไว้ด้วยกัน อย่างนี้จึงจะเป็น team work และทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข

งานที่สำเร็จลุล่วงในเวลาอันรวดเร็ว แต่ลูกทีมบางคนต้องเสียความรู้สึกดีๆ ต่อหัวหน้างานไป หรืองานราบรื่นเป็นระบบ แต่ทุกคนขาดความกระตือรือร้นค้นหาทดลองแนวทางใหม่ๆ อาจ

เรียกว่าเป็นงานที่ประสบความสำเร็จได้ แต่ไม่ใช่คำตอบทั้งหมดของการทำงานอย่างมีความสุขครับ งานนั้นไม่ใช่เพียงเนื้องาน เอกสาร หรือยอดขาย

แต่งานยังหมายถึงพวกเราทุกคนที่เป็นคนขับเคลื่อนเฟืองจักรให้งานเดินไปสู่เป้าหมาย ความสุขจากการทำงานจึงควรเป็นความสุขของทุกคนที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงาน และตลอด

เวลาที่ได้ทำงานร่วมกัน ไม่น่าจะใช่แค่ความสุขที่ได้เห็นงานเสร็จ

เคล็ดลับการทำความเข้าใจ และใช้ความแตกต่างเป็นพลังหนุนเสริมกันในทีมนี่แหละครับ คือที่มาของความสุขในการทำงาน

แนวคิดสัตว์ 4 ทิศนี้ จะไม่เกิดประโยชน์เลยครับ ถ้าเรานำความแตกต่างที่ว่านี้มาตอกย้ำ ตีตราให้กัน และกล่าวโทษการประสานงานที่มีปัญหาว่าเป็นเพราะเราต่างกัน ความแตกต่างไม่ได้

เป็นข้อกำหนดมาจำกัดความสามารถและศักยภาพของแต่ละคนเลยครับ ตรงกันข้าม กลับเป็นเครื่องบ่งชี้และนำทางให้เราเห็นความหลากหลาย และความงดงามของทุกคน

ในโลกการทำงานเราล้วนอยู่ท่ามกลางเพื่อนผู้มีที่มาหลากหลาย เราไม่สามารถบังคับให้ทุกคนคิดเหมือนกันได้ เช่นกันกับความแตกต่างหลากหลายบนโลกใบนี้ เมื่อเรามีความสุขได้ง่ายๆ

จากการเรียนรู้เข้าใจกันในที่ทำงาน มันคงไม่ยากเกินไปที่เราจะเข้าใจโลกใบที่ใหญ่กว่า และนำพามาซึ่งความสุขและสันติภาพในทุกๆ คนครับ

From : สรยุทธ รัตนพจนารถ (asia@sorrayut.com)

Categories: Business

ThinkGeek

17 August 2005 Leave a comment
I really like this site "thinkgeek.com". Lots of thing is really impress me for example
this T-shirt thinkgeek.com/tshirts/frustrations/388b/ "No, I will not fix your computer", 
thinkgeek.com/tshirts/coder/5d6a/ "There’s no place like 127.0.0.1" I feel it whenever I use other people computer,
thinkgeek.com/tshirts/generic/724a/ "roses are #FF0000 violets are #0000FF all my base are belong to you" It’s so sweet, right?
and this one thinkgeek.com/gadgets/watches/7243/ is a led binary watch. It’s really cool. Like it so much.
thinkgeek.com/cubegoodies/toys/6fd6/ is a "Space-Age Habitat For Antkind" It’s look interesting.
 

Accountable Warning Signal

16 August 2005 Leave a comment

การวัดสัญญาณเตือนภัยพิจารณาจากหลักการของพฤติกรรมผู้บริหาร หรือพฤติกรรมมนุษย์โดยปกติทั่วๆ ไป (Behavior finance) ซึ่งสามารถสังเกตได้จาก

1.รายงานของผู้สอบบัญชีที่ยาวผิดปกติ มีการกล่าวถึงความไม่แน่นอนต่างๆ ที่มีสาระสำคัญ มีการออกรายงานที่ล่าช้ากว่าปกติ หรือมีการชี้แจงถึงการเปลี่ยนแปลงตัวผู้สอบบัญชี สัญญาณเตือนภัยเหล่านี้อาจเป็นตัวบ่งบอกว่าผู้บริหาร และผู้สอบบัญชีมีความเห็นที่ขัดแย้งกันเกี่ยวกับรายการบางรายการ โดยทั่วไปความเห็นที่ขัดแย้งกันนี้มักจะเกี่ยวข้องกับรายการที่มีความเสี่ยงสูง และค่อนข้างไว (Sensitive) ต่อราคาหุ้น

2.การลดลงในค่าใช้จ่ายที่อยู่ภายใต้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร เช่น การตั้งสำรองสินทรัพย์ด้วยค่าเผื่อหนี้สูญ ฝ่ายบริหารจะทำการลดค่าใช้จ่ายเหล่านี้ลง เพื่อช่วยให้กิจการทำกำไรได้เข้าเป้า เนื่องจากผลประโยชน์ของผู้บริหารจะอิงกับผลประโยชน์บางอย่าง เช่น โบนัสอิงกับกำไร

3.การเปลี่ยนแปลงในนโยบายการบัญชีที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายการตัดค่าเสื่อมราคา เพื่อนำไปสู่ผลกำไรที่เพิ่มขึ้น แต่กระแสเงินสดกลับลดลง

4.การเพิ่มขึ้นของบัญชีลูกหนี้ หรือรายได้ค้างรับที่แตกต่างไปจากยอดที่กิจการประสบอยู่ในอดีตอย่างเห็นได้ชัด อาจเป็นตัวบ่งบอกว่ากิจการได้มีการให้สินเชื่อทางการค้า เพื่อกระตุ้นยอดขายเพื่อทำกำไรให้เข้าเป้า อาจนำไปสู่การขายให้กับลูกค้าที่มีความเสี่ยงสูงต่อการผิดนัดชำระหนี้ เป็นยอดขายที่ก่อให้เกิดปัญหาทางการเงินแก่ผู้ขายตามมาในภายหลัง ในกรณีเช่นนี้ ยอดขายและกำไรทางบัญชีจะเพิ่มขึ้น แต่กระแสเงินสดจะลดลง

5.การขยายตัวของบัญชีเจ้าหนี้การค้าที่แตกต่างไปจากยอดที่กิจการประสบอยู่ในอดีตอย่างเห็นได้ชัด หรือการขยายระยะเวลาการชำระหนี้เกินไปกว่าระยะเวลาการชำระหนี้ โดยปกติอาจเป็นสัญญาณบ่งบอกว่า กิจการต้องการที่จะทำให้ยอดดุลของบัญชีเจ้าหนี้คล้ายกับว่าเพิ่งเกิดขึ้นล่าสุด ณ วันที่จัดทำงบดุล หรือการที่บริษัทขาดสภาพคล่องจนกระทั่งต้องขอให้เจ้าหนี้การค้าต้องยืดหนี้ให้

6.การเพิ่มขึ้นในยอดคงเหลือในบัญชีสินทรัพย์ไม่มีตัวตนอย่างผิดปกติ เป็นสัญญาณบ่งบอกว่ากิจการอาจกำลังตั้งรายจ่ายในสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเป็นค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี เนื่องจากรายได้ที่กิจการทำได้ไม่เพียงพอต่อการที่จะชดเชยรายจ่ายดังกล่าว หากมีการตัดเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดขึ้นเป็นการบริหารกำไรในแต่ละไตรมาส เพื่อผลที่ต้องการ

7.มีรายได้มาจากรายการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว และไม่เกิดขึ้นอีกในอนาคตอันใกล้ เช่น กำไรจากการจำหน่ายสินทรัพย์ (เช่น อาคารสำนักงานใหญ่ เป็นต้น) การจำหน่ายสินทรัพย์ออกไปในราคาที่ทำกำไรเช่นนี้ อาจทำขึ้นเพียงเพื่อทำให้กำไรที่เกิดขึ้นจริงไม่ต่างไปจากกำไรที่ได้ประมาณการไว้

8.การลดลงในสำรองต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นการตัดจ่ายโดยตรงจากสำรอง หรือการโอนกลับรายการสำรองต่างๆ การตัดจ่ายโดยตรงจากสำรองเป็นตัวบ่งบอกว่ารายการอันอาจเกิดขึ้น ซึ่งได้มีการตั้งสำรองเผื่อสำหรับจำนวนนี้ไว้แล้วได้เกิดขึ้นตามนั้นจริง ในขณะที่การโอนกลับรายการที่ตั้งสำรองไว้เป็นตัวบ่งบอกว่ากิจการทำขึ้นเพื่อสร้างภาพกำไร

9.การเพิ่มขึ้นในเงินกู้ยืม เป็นสัญญาณบ่งบอกว่ากิจการกำลังประสบกับปัญหาในการจัดหาเงินทุน เพื่อการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จากแหล่งเงินทุนภายในกิจการ

10.การเพิ่มขึ้นในบัญชีภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกว่ากิจการกำลังใช้หลักการบัญชีที่หละหลวมในการจัดทำตัวเลขกำไร เพื่อนำเสนอต่อสาธารณชน หรือเป็นสัญญาณบ่งบอกว่ากำไรก่อนหักภาษีเงินได้ ซึ่งเป็นตัววัดผลการดำเนินงานที่แท้จริงของกิจการกำลังปรับตัวไปในทางลดลง

11.ยอดเงินกู้ยืมระยะสั้นสูงขึ้นอย่างผิดปกติ ณ วันสิ้นปี หรือ ณ ช่วงเวลาที่แตกต่างไปจากปีที่ผ่านๆ มา อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกว่ากิจการอาจะทำการกู้ยืมเงินมาเพื่อสนับสนุนการขายสินค้าเป็นเงินสินเชื่อ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มยอดขายตอนปลายงวดให้สูงขึ้น หรือเป็นสัญญาณบ่งบอกว่ารูปแบบของการดำเนินธุรกิจอาจกำลังเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งเป็นการดำเนินธุรกิจที่ก้าวร้าวมาก ในภาษาการเงิน เรียกว่า Leverage to finance customer

12.อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือที่ต่ำลง อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าปัญหาทางด้านการขาย ปัญหาทางด้านสินค้าคงเหลือ หรือปัญหาทางด้านการผลิตอาจกำลังก่อตัวขึ้น

13.มีผู้บริหารระดับสูงเพียงไม่กี่ท่านที่สามารถควบคุมบริษัทได้ทั้งหมด หรือการที่ผู้บริหารระดับสูงเป็นบุคคลเดียวกับเจ้าของบริษัท โดยที่ผลตอบแทนของผู้บริหารเหล่านี้มีส่วนอ้างอิงกับกำไรของบริษัท

14.การที่ผู้บริหารบริษัทมีรายงานซื้อหุ้น หรือโอนหุ้นเข้าออกอยู่เสมอ

สัญญาณต่างๆ เหล่านี้ จะเป็นสัญญาณที่เตือนว่า อาจจะมีความผิดปกติของงบการเงินซ่อนอยู่…

Categories: Economics & Finance